อายุมากขึ้นความมั่นคงในชีวิตก็ต้องมี จะใช้ชีวิตไปวันๆแบบไม่มีเป้าห ม า ยเห็นทีจะไม่ได้ สำหรับวันนี้เราจะพามาดูถึงสิ่งที่ต้องคิดหรือใครที่ไม่เคยคิดเลยก็ควรจะเริ่มคิดได้แล้ว ถ้าวันนี้อายุมากขึ้นและอย ากสร้างความมั่นคงให้กับชีวิต
1.รู้ตัวเองก่อนว่ามีอะไรมากกว่ากันระหว่างท รั พ ย์สินกับห นี้สิน
หากว่าเพื่อนๆ มีร า ยได้เดือนนึงหลักหล า ยหมื่น แต่กลับมีร า ยจ่ายสูงพอๆกับร า ยรับ สิ่งที่ควรใส่ใจอ ย่ างแรกเลย คือลิสต์ร า ยการของท รั พ ย์สิน เพื่อเปรียบเทียบกับห นี้สิน ที่มีทั้งหมดครับ และถ้าหากมานั่งงงว่าเฮ้ยเราก็มีสินท รั พ ย์เยอะนะ มือถือรุ่นใหม่ๆ กล้องถ่ายรูปแพงๆฯลฯ แต่ทำไมยังจนอยู่
มีแต่ห นี้สินคิดง่ายๆเลยครับ มือถือ 1 เครื่อง ร า ค าประมาณ 25000–30000 แต่ร า ค าขา ย ต่อมูลค่ามันห า ยไป แทบจะครึ่งนึง แค่นี้ก็พอจะมองออ กแล้วใช่มั้ยครับ ว่าเพื่อนๆต้องเริ่มกลับมาวางแผน การเงิ นให้ตัวเองได้แล้ว เริ่มต้นง่ายๆ ที่เริ่มสะสมท รั พ ย์สิน ที่ก่อให้เกิดร า ยได้เช่นหุ้นกองทุนรวมเป็นต้น
2.เริ่มทยอยปลดห นี้ให้หมดได้แล้ว
ไม่ว่าจะเป็นค่าผ่ อ นรถค่าบัตรเครดิตหรือแม้แต่ค่าผ่ อ นสินค้ า 0เปอร์เซน ต่างๆนั่น เ พ ร า ะยิ่งปลดห นี้เร็วเท่าไหร่ เราก็สามารถนำเ งินไปต่อยอ ดได้มากขึ้น และถ้ายังไม่แน่ใจ ว่าจะปลดห นี้ยังไงดีแนะนำให้เริ่ม จากดูว่าเรามีห นี้ทั้งหมดกี่ร า ย จำนวนเ งินที่เป็นห นี้ของแต่ละร า ย และอัตราด อ กเบี้ย จากนั้นให้จัดลำดับห นี้ โดยให้ห นี้ที่มีอัตราดอ กเบี้ยสูงสุด อยู่ด้านบน และเริ่มต้นปลดห นี้จากก้อนนั้นก่อน แล้วค่อยๆทยอยปิดห นี้ก้อนอื่นๆต่อไปจนหมด
3.วางแผนเกษียณหรือยัง
แก่ไม่ว่า แต่อ ย่ าแก่แบบไม่มีเงิ นครับ ที่บอ กแบบนี้ เ พ ร า ะอย ากให้วาง แผนเกษียณกันไวๆ ยิ่งวางเร็วยิ่งดี ดังนั้นการเริ่มต้นตั้งแต่วันนี้ ก็เพื่อผลประโยชน์สำหรับเราเอง ในปัจจุบันจะได้ไม่ต้องลำบากลูกหลานในอนาคต
4.สร้างงบการเ งินในแบบของตัวเองได้แล้ว
แม้เพื่อนๆจะหาเงิ นได้มาก หากบริหารเ งินไม่ดี เงิ นที่ได้มาก็จะห า ยไปง่ายๆเรียกว่าร ว ยเดย์ ร ว ยกันแค่วันสิ้นเดือน ดังนั้นสิ่งที่เพื่อนๆต้องให้ความสนใจ ในถัดมาคือ การสร้างงบร า ยจ่าย หากไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นยังไง ให้เริ่มต้นจากงบการเงิ น 50-30-20 ดูครับ สิ่งจำเป็นสิ่งอย ากได้ออมฉุกเฉิน
5.ศึกษาเรื่องภาษีได้แล้ว
ยิ่งร า ยได้มาก ก็อ ย่ าลืมว่าภาษี ต้องเพิ่มขึ้นเป็นเงาต ามตัว เ พ ร า ะถือเป็นกฎห ม า ยที่ทุกคน ในชาติต้องปฏิบัติ ต ามสิ่งที่ เพื่อนๆควรศึกษา คือ กฎห ม า ยต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับภาษีไม่ว่า จะเป็นการลดหย่อนหรือ การละเว้นใดๆก็ต าม
6.บริหารความเสี่ยงให้เป็น
การมีสติ ช่วยให้เราผ่านทุกปัญหาได้ เ พ ร า ะสิ่งที่เรา จะพูดต่อไปนี้คือเรื่องของ ความเสี่ยงต่างๆที่เกิดขึ้นไม่ว่า คุณจะโสดหรือไม่ก็ต าม ความเสี่ยงที่คุณควรพิจารณา มีอยู่ 3 ด้านคือ
6.1 ความเสี่ยงด้านชีวิตและสุ ขภ า พ
เริ่มจากการคิดว่าหากเราเ จ็ บป่ ว ย หรือเกิดเหตุไม่คาดคิดครอบครัวจะต้อง ลำบากเ พ ร า ะข า ดกำลังสำคัญรึเปล่า หากคำตอบ คือใช่เราลองบริหาร ความเสี่ยงโดยการซื้ อประกันดีมั้ย
6.2 ความเสี่ยงด้านท รั พ ย์สินนั่นก็คือ
หากเราหยุดทำงาน ไม่ว่าจะลาออ กหรือไม่อย ากลาออ กก็ต าม เรามีความพร้อมรึยัง หากไม่มีสิ่งแรก ที่ควรทำคือสำรอง เงิ นฉุกเฉินประมาณ 6 เดือนของร า ยจ่ายเอาไว้ก่อน
6.3 ความเสี่ยงในการดำเนินชีวิตเช่น
หากวันหนึ่งเพื่อนๆขับรถแล้ว เกิดอุบัติเหตุ เรามีประกันภั ยรถยนต์รึเปล่า ถ้าไม่มีจะซื้ อมั้ย ซื้ อประกันแบบไหนดี
7.คุณต้องมีเงิ นสำรองฉุกเฉินอ ย่ างน้อย 6 เดือน
คิดจาก ร า ยจ่ายปกติต่อเดือน x6 เดือน=เงิ นสำรองฉุกเฉินที่ควรมี เงิ นจำนวนนี้จะช่วยให้เรา สามารถรับมือ กับปัญหาด้านการเงิ นได้ โดยไม่ต้องกู้ยืมเงิ นคนอื่น เ พ ร า ะการกู้ยืมเงิ น อาจจะทำให้เรากลับเข้าไปอยู่ ในวงจรห นี้อีกครั้ง
ที่มา stand-smiling