5การกระทำและคำพูดที่ทำให้ลูกเ สี ยใจไม่รู้ตัว

คำพูดและการกระทำของพ่อแม่เป็นตัวกำหนดตัวตนของลูก ช่วยสร้างขวัญกำลังใจ ช่วยปลอบใจและความรู้สึกของลูกได้อ ย่ างดี ในขณะเดียวกันการใช้คำพูดหรือ การกระทำที่ไม่ถูกต้องก็อาจก่อให้เกิดผลเ สี ยได้เช่นกัน ไปดูกันว่าคำพูดและการกระทำแบบไหนที่พ่อแม่ไม่ควรทำเป็นอ ย่ างยิ่งเพราะอาจทำให้ลูกๆ เ สี ยใจโดยไม่รู้ตัว

1. เผลอต่อว่าลูกต่อหน้าคนอื่น

การดุด่าว่ากล่าวลูก ต่อหน้าคนอื่น ถือเป็นการทำร้ า ยจิตใจลูกอ ย่ างมาก คุณพ่อคุณแม่ต้องคิดเสมอว่า เ ด็ กๆ ก็มีความรู้สึกอาย และเ สี ยหน้าเป็น ดังนั้น หากลูกมีพฤติก ร ร มที่ไม่เหมาะสม ควรค่อยๆ พูดกับลูกในระดับที่เสมอ กัน ด้วยน้ำเ สี ยงที่อ่อนโยนและเป็น มิตร ซึ่งไม่ควรตะคอ ก หรือโดยวายลูกต่อหน้าคนอื่น

2. เผลอบอ กว่า ไม่รัก แล้ว

เราไม่ควรนำความรัก มาใช้เป็นเงื่อนไขต่อรองกับลูก ซึ่งการบอ กลูกว่า ไม่รัก บ่อยๆ เป็นการบั่นทอนความมั่นคงทางอารมณ์ และจิตใจของลูกอ ย่ างมาก พ่อแม่บางคนอาจบอ กว่าไม่รัก เพื่อให้ลูกเชื่อฟัง แต่หารู้ไม่ว่าวิ ธีนี้ อาจทำให้เ ด็ กรู้สึกคิดจริงจังก็ได้ ว่าพ่อแม่ไม่รักจริงๆ และรู้สึกเ จ็ บป ว ดมากที่สุด อาจจะไม่ทำต ามในสิ่งที่พ่อแม่บอ กแล้ว เพราะไม่มีประโยชน์อะไร

ที่เขาจะทำดีหรือเชื่อฟัง เมื่อพ่อแม่ไม่รัก ซึ่งเรื่องนี้ถือเป็นเรื่องใหญ่สำหรับเ ด็ กมาก ดังนั้น หากคุณจะตำหนิลูก ที่มีพฤติก ร ร มไม่เหมาะสม ควรว่ากล่าวด้วยเหตุผล แทนการบอ กว่า ถ้าทำตัวแบบนี้พ่อแม่จะไม่รักแล้วนะ

3. เผลอเพิกเฉย ไม่สนใจ

การแสดงความไม่สนใจต่อลูกนั้น ในกรณีที่คุณพ่อคุณแม่ ตั้งใจแสดงออ กให้ลูกเห็น ว่าการเรียกร้องความสนใจ เพื่อที่จะให้พ่อแม่ต ามใจ เช่น การร้องไห้ชักดิ้นชักงอ หรือ การเดินหนีออ กจากพ่อแม่นั้นไม่ได้ผล วิ ธีนี้ถือเป็นการช่วยฝึกวินัยของลูก ให้เรียนรู้ว่าพฤติก ร ร มแบบนี้ ไม่สามารถเรียกร้องความสนใจจากพ่อแม่ได้ และลูกก็จะไม่ทำอีก แต่กลับกัน หากพ่อแม่เอาแต่สนใจอ ย่ างอื่น โดยที่ไม่สนใจลูก เพิกเฉยเมื่อลูกจะเข้ามาเล่นด้วย หรืออวดสิ่งของที่ลูกได้ทำเอง ถือเป็นการทำร้ า ยจิตใจของลูกมากนะ

4. เผลอเปรียบเทียบลูกกับคนอื่น

เพราะการเปรียบเทียบ จะเป็นการสร้างความรู้สึกด้อย ให้เกิดขึ้นในใจของลูกๆ ซึ่งเป็นอันตร า ย ต่อ การพัฒนาบุคลิกภาพของเ ด็ กอ ย่ างมาก ถึงแม้การพูดในลักษณะนี้ จะเป็นความหวังดี ที่อย ากจะให้ลูกได้พย าย าม ปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้น แต่ก็อาจทำให้เ ด็ กรู้สึกด้อยค่า และมองว่าไม่เก่งเท่าคนอื่นๆ จนเลิกพย าย ามและยอมแพ้

อีกมุมหนึ่งคือ เ ด็ กอาจเกิดความคิด หาทางกลั่นแกล้ง ทำล า ยคู่แข่งคนอื่นๆ ได้ ซึ่งคุณพ่อคุณแม่ควรเข้าใจว่า พื้นฐานของเ ด็ กแต่ละคน ตลอ ดจนความสามารถนั้น แตกต่างกัน ควรจะมองและชื่นชมลูก ในสิ่งที่เขาสามารถทำได้และถนัด มากกว่าการใช้คำพูด ทำล า ยความรู้สึกของลูกๆ ด้วยการเปรียบเทียบ หรือเพื่อต้องการให้ลูกเก่งกว่าเ ด็ กคนอื่นๆ

5. เผลอข่มขู่ หรือทำให้กลัว

เ ด็ กๆ มักจะกลัวเ สี ยงดุจากคุณพ่อคุณแม่อยู่แล้ว เนื่องจากลูกยังไม่สามารถเข้าใจในเรื่องต่างๆ ได้ทั้งหมด การเรียนรู้ครั้งแรก หรือ การทำผิ ดพลาด อาจทำให้ลูกเกิดความไม่กล้าในครั้งต่อไป หากพ่อแม่ใช้วิ ธีการข่มขู่ มาเป็นข้ อห้าม หรือหลอ กเพื่อไม่ให้ลูกได้ทำสิ่งต่างๆ เช่น ออ กไปนอ กบ้าน ระวังตำรวจจับนะ

หรือ ถ้าซน มากๆ เดี๋ยวตุ๊กแกกินตับนะ การขู่ในลักษณะแบบนี้ หากทำบ่อยๆ ลูกจะซึมซับ และจะกล า ยเป็นการกลัวฝังใจ กลัวแม้กระทั่งเรื่องนิดๆ หน่อยๆ ทำให้เ ด็ กกล า ยเป็นคนขี้กลัว ดังนั้น พ่อแม่ไม่ควรเผลอ กระทำสิ่งเหล่านี้ เพื่อให้ลูกได้เติบโต เป็นคนอารมณ์ดี มีจิตใจมั่นคง

ที่มา t h e a s i a n p a r e n t  profession-j55