หากคุณเป็นคนหนึ่งที่ตั้งใจไว้ว่าปีนี้จะต้องมีเ งิ นเก็บสักก้อน จะตั้งใจเก็บเ งิ นแต่ผ่านต้นปีมาก็จะเข้าเดือนที่สี่ล่ะยังไม่มีเก็บสักบ า ทเลย แบบนี้จะมีเก็บกับเขาไหมเนี้ย ไม่ต้องเครียดจ้า เ พ ร าะ ถ้าเราตั้งใจยังไงก็ทำได้ วันนี้เรามีแนวทางการเก็บออมเ งิ นให้ได้มีเ งิ นก้อนตอนสิ้นปีมาฝากกันจะเป็นอ ย่ างไรเราไปดูกัน
เชื่อว่าหล า ยคนน่าจะเป็นกัน เริ่มต้นปีใหม่ทีไรก็จะตั้งปณิธาน ให้ตัวเองว่า ปีนี้ ฉันจะ ซึ่งหล า ยคนก็ประกาศอ ย่ างเป็นทางการบนเ ฟ ซ บุ๊ กแล้วพอสิ้นปี ก็กลับพบว่า ยังทำไม่ได้ New Year Resolution ที่มักพบบ่อยๆ อาทิ ปีนี้ ฉันจะล ด น้ำ ห นั ก ปีนี้ ฉันจะกินคลีน ปีนี้ ฉันจะคิดบวก ฯลฯ
และหนึ่งในปณิธานอันดับต้นๆ ที่หล า ยคน มักตั้งใจว่าจะทำให้ได้แต่สุดท้าย ก็ยังทำไม่ได้ นั่นคือ ปีนี้ ฉันจะเก็บเ งิ นให้ได้มากๆ เราขอแนะนำ 5 วิ ธีการ เก็บเ งิ น มาให้เลือ กใช้ต ามกำลังท รั พ ย์และความชอบเผื่อว่าอานิสงส์ของ การปฏิบัติจะทำให้สิ้นปีนี้ฝันข้ อนี้ของหล า ยๆ คนจะกล า ยเป็นจริง
1. หั ก 10เปอร์เซน ล ด 10เปอร์เซน
หลักการข้ อนี้ฟังดูเหมือนง่ายแต่ปฏิบัติจริงย ากมาก ต้องอาศัยวินัยขั้นสูง เหมาะสำหรับคนที่ชอบความท้าทายและมุ่งมั่นตั้งใจที่จะล ดค่าใช้จ่ายและ เก็บเ งิ นอ ย่ างจริงจัง สำหรับหลักการคือ หั ก 10เปอร์เซน คือทุกครั้งที่มีร า ยรับเข้ามา ให้หั ก 10เปอร์เซน ของเ งิ นก้อนนั้น เก็บใส่กระปุกหรือบัญชี ส่วน ล ด 10เปอร์เซน
คือ ให้ล ดค่าใช้จ่ายอ ย่ างน้อย 10เปอร์เซน ทุกครั้งที่จะจ่าย เช่น เคยซื้ อเสื้อผ้าครั้งละ 2,000 บ า ท ก็ล ดเหลือ 1,800 บ า ท หรือเคยซื้ อ กาแฟใส่ทอปปิ้งต่างๆ จนร า ค าแก้วละ 150 บ า ท ให้ล ดทอปปิ้ง 1 อ ย่ าง ประหยัดได้ 15 บ า ท แล้วนำเ งิ นที่ล ดได้ทั้งหมดไปสมทบกับเ งิ นเก็บก้อนแรกวิ ธีนี้ พอสิ้นเดือนที่ คุณนำเ งิ นเก็บก้อนโตออ กมานับ นอ กจากจะปลื้มใจกับเ งิ นที่เก็บได้ คุณยังจะภูมิใจกับค่าใช้จ่ายที่คุณล ดลงได้ด้วย
2. เก็บ เหรียญสิบ ต ามเลขวัน
วันที่ 1 ให้หยอ ดเหรียญสิบ 1 เหรียญ วันที่ 2 หยอ ด 2 เหรียญ วันที่ 10 หยอ ด 10 เหรียญ หรือจะเปลี่ยน เป็นหยอ ด แบงก์ร้อย แทนก็ได้ทำอ ย่ างนี้ ไปเรื่อยๆ จนวันที่ 30 ก็หยอ ดไปเลย 30 เหรียญ หรือใส่กระปุกไป 300 บ า ท พอสิ้นเดือน คุณก็จะมีเ งิ นเก็บ 4,650 บ า ทในเดือนที่มี 30 วัน และ 4,960 บ า ท สำหรับเดือนที่มี 31 วัน แล้วพอสิ้นปี คุณจะมีเ งิ นเก็บอ ย่ างน้อย 55,800 บ า ท
3. ล ด-ละ-เลิก
จริงๆ แล้ววิ ธีนี้ถือเป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้กำลังใจตัวเองในการทำต ามปณิธาน หรือ New Year Resolution ข้ ออื่นให้สำเร็จ เช่น ล ด-ชาไข่มุกวันละ 1 แก้ว ละ-ชาบู อาทิตย์ 1 ครั้ง และเลิก-ซื้ อหวย ลอตเตอรี่ หรือเลิกบุหรี่จากนั้นก็ให้นำเ งิ น ที่ได้จากการ ล ด-ละ-เลิก มาเก็บใส่กระปุกพอครบเดือน ลองออ กมานับจำนวนเ งิ นเก็บ ที่นับได้จะกล า ยเป็นกำลังใจ ในการ ล ด-ละ-เลิก ซึ่งจะช่วยให้คนที่ตั้ง New Year Resolution ว่า ปีนี้ ฉันจะผอม ปีนี้ ฉันจะสุ ข ภ า พดี เป็นจริงเร็วขึ้นด้วย
4. เก็บ แบงก์ 50 บ า ท ทุกใบที่ได้รับ หรือเก็บทุกแบงก์
ที่ลงท้ายด้วยเลขท้ายของวันเกิด วิ ธีนี้ไม่มีอะไรซับซ้อนต้องอาศัยโชคและความซื่อสัตย์ต่อตนเองเท่านั้น ทั้งในเรื่องของการเก็บและการไม่แอบเอาออ กมาใช้ จากการสำรวจ คนรอบตัวที่ใช้วิ ธีนี้พบว่า พอตั้งปณิธานว่าจะเก็บ แบงก์ 50 เท่านั้นแหละ ก็มักจะได้แบงก์ 50 มาบ่อยๆ หล า ยคนพอสิ้นปีถึงกับตกใจเ พ ร าะ เก็บได้มาก
ถึง 400-600 ใบ หรือประมาณ 20,000-30,000 บ า ทเลยทีเดียว แต่สำหรับ คนที่เทพเจ้าแห่งการออมไม่เข้าข้างก็อาจจะตั้งปณิธานเป็น เก็บทุกแบงก์ที่ ลงท้ายด้วยเลขท้ายของวันเกิดเช่น เกิดวันที่ 25 ก็เก็บทุกแบงก์ที่ลงท้าย ด้วย 5 ไม่ว่าจะเป็นแบงก์ 20 แบงก์ 500 หรือแบงก์ 1,000 ยกเว้น เป็นแบงก์ 1,000 บ า ท สุดท้ายของเดือนก็อาจอนุโลมให้ได้ วิ ธีนี้จะบอ กได้ย ากว่า ณ สิ้นเดือนหรือสิ้นปี คุณจะเก็บได้เท่าไร เ พ ร าะ ขึ้นอยู่กับโชคชะต าและความซื่อสัตย์ของคุณล้วนๆ
5. SIXJars หรือ 6 กระปุกหมูสู่ฝัน
วิ ธีนี้เหมาะมากสำหรับมนุษย์เ งิ นเดือนโดยเฉพาะคนที่อย ากเริ่มต้นเป็นนักวางแผน การเ งิ นเ พ ร าะ ต้องอาศัยการทำการบ้านอ ย่ างหนักในการออ กแบบ 6 กระปุกว่าจะ ประกอบด้วย เป้าหมายการใช้เ งิ น อะไรบ้างและในสัดส่วนเท่าไรที่จะเหมาะสม พื้นฐานสำหรับคนที่อย ากเริ่มต้นเก็บเ งิ นแต่ยังไม่รู้ว่าจะออ กแบบ 6 กระปุกอ ย่ างไร โดยประกอบด้วย
กระปุกที่ 1 Living Expenses หรือ กระปุกค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือนโดยให้หั ก เก็บไว้ก่อนตั้งแต่เ งิ นเดือนออ กหลังจากนั้นค่าใช้จ่ายประจำเดือนให้ใช้เ งิ นจาก ในกระปุกนี้เท่านั้นสำหรับสัดส่วนที่เหมาะสมขึ้นอยู่กับความจำเป็นในการใช้และ ความสามารถในการประหยัดของแต่ละคน ซึ่งค่าเฉลี่ยที่เหมาะสมอาจจะ อยู่ระหว่าง 50-55เปอร์เซน
กระปุกที่ 2 Retirement หรือ กระปุกเพื่อวัยเกษียณถือเป็นเ งิ นออมระยะย าว โดยสัดส่วนที่เหมาะสมก็ขึ้นกับจำนวนเป้าหมายที่ต้องมีหลังเกษียณและ ระยะเวลาทำงานที่ยังเหลือแต่ถ้าไม่อย ากคิดมากและไม่ลำบากเกินไปก็อาจจะ หั กไว้ 10เปอร์เซน ของเ งิ นเดือน คำแนะนำพิเศษสำหรับเ งิ นก้อนนี้คือ แทนที่จะนำ เ งิ นก้อนนี้ไปใส่กระปุกจริงๆ อาจเปลี่ยนไปซื้ อ RMF, SSF หรือ กองทุนรวมอื่นๆ เพื่อให้ได้ผลตอบแทนที่ดีกว่า
กระปุกที่ 3 B i g Goal หรือ กระปุกสานฝันใหญ่ถือเป็นกระปุกที่ต้องมีการ วางแผนระยะย าวเ พ ร าะ ฝันใหญ่มักใช้เ งิ นเยอะ เช่น ไปเที่ยวต่างประเทศ หรือซื้ อรถ เป็นต้น สำหรับสัดส่วนก็ขึ้นอยู่กับค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นกับระยะเวลา ในการเก็บเ งิ นแต่ถ้าคุณยังไม่มีฝันใหญ่เป็นชิ้นเป็นอันก็อาจจะเลือ กเก็บไปเรื่อยๆ ที่สัดส่วน 10-15เปอร์เซน ข้ อ ดีของกระปุกนี้คือ จะทำให้เราทำต ามความฝันโดยไม่ต้องเป็นห นี้
กระปุกที่ 4 Have Fun หรือ กระปุกเพื่อสันทนาการและปรนเปรอตนเอง เรียกว่าเป็นกระปุก แก้เซ็ง ก็ว่าได้เอาไว้จ่ายเพื่อสนองความอย ากหรือให้รางวัล ตัวเองเล็กๆ น้อยๆ เช่น ซื้ อเสื้อผ้า ไปกินดื่ มกับเพื่อนฝูง ฯลฯ หรือค่าใช้จ่าย เพื่อความสุขส่วนตัว ที่อยู่นอ กเหนือจากค่าใช้จ่ายในแต่ละเดือน
กระปุกที่ 5 Life-long Learning หรือ กระปุกเพื่อพัฒนาตนเองเ พ ร าะ ยุคนี้เป็น ยุคที่คนทำงานอ ย่ างเราต้องอยู่ร่วมกับเทคโนโลยีและ AI ให้ได้ จึงต้องมีการ R e s k i l l – U p s k i l l ตลอ ดเวลา ดังนั้น ค่าใช้จ่ายตรงนี้อาจหมายถึงการ ซื้ อหนังสือ ซื้ อคอร์สหรือไป Workshop ต่างๆ โดยสัดส่วนจะเป็นเท่าไร ก็แล้วแต่ความชอบของแต่ละคน
กระปุกที่ 6 Charity หรือ กระปุกออมบุญ เอาไว้สำหรับบริจาคหรือใช้กิจก ร ร ม ทำบุญต่างๆ นานาหรือบางคนอาจเปลี่ยนชื่อ กระปุกนี้ เป็น Sharing แล้วเก็บเ งิ นไว้ สำหรับเอาไปให้พ่อแม่แทนก็ได้ ต้องย้ำว่า ทั้ง 6 กระปุกที่ยกมาเป็นเพียงไอเดียตัวอ ย่ างในการวางแผนการเ งิ นใน แต่ละเดือน ซึ่งบางกระปุกสำหรับบางคนอาจไม่จำเป็นหรือบางคนอาจอย ากมีมากกว่า 6 กระปุก ก็สามารถทำได้โดยไปปรับสัดส่วนของแต่ละกระปุกต ามความเหมาะสม
โดยหนึ่งในกระปุกที่ควรมีเพิ่ม เช่น กระปุกย ามฉุกเฉิน ไว้สำหรับเป็นค่าใช้จ่าย ฉุกเฉิน เช่น เข้าโรงพย าบาลหรือมีกระปุกเพิ่ม เช่น กระปุกเพื่อจ่ายประกัน เป็นต้น หลักปฏิบัติสำคัญสำหรับข้ อนี้คือ 1. อ ย่ าใช้เ งิ นในกระปุกผิ ดวัตถุประสงค์และ 2. ควรออ กแบบกระปุกและสัดส่วน ให้เรียบร้อย แล้วทำให้ได้ต ามนั้นอ ย่ าเพิ่มหรือล ดสัดส่วน และกระปุกไปมาระหว่างปฏิบัติ โดยอาจกำหนดให้สามารถทบทวนสัดส่วนหรือเป้าหมายของแต่ละกระปุก 3-6 เดือนครั้ง
ที่มา create-readingth