ล ดภาระห นี้บ้านให้หมดเร็ว เ สี ยดอ กน้อยด้วย 6 วิ ธี

สำหรับใครที่ซื้ อบ้านส่วน มากจะผ่ อ นกับธนาคาร กว่าจะผ่ อ นหมดก็เ สี ยดอ กไปไม่น้อย หล า ยๆคนอาจจะสงสัยว่าเราสามารถผ่ อ นให้เ สี ยดอ กน้อยลงและผ่ อ นหมดไวได้ไหม วันนี้เราจะพามาดูกันว่ามีวิ ธีไหนบ้านที่จะช่วยให้ผ่ อ นบ้านให้หมดไว

เมื่อเราตัดสินใจจะซื้ อบ้านหรือคอนโดสักหลังแล้วสิ่งที่เราจะทำต่อไปนั่นก็คือ หาธนาคารเพื่อเปรียบเทียบ ด อ ก เ บี้ ย ของแต่ละธนาคาร และแน่นอนว่าเราต้องเลือ กธนาคารที่ ด อ ก เ บี้ ย

ถูกที่สุดสำหรับเรา โดยส่วน มากแล้วระยะเวลาในการทำสัญญากู้ผ่ อ นบ้านจะมีอายุประมาณ 30 ปี และ ด อ ก เ บี้ ย ในแต่ละปีก็ถูกแพงแตกต่างกันไป วันนี้เราจะนำเสนอวิ ธีผ่ อ นบ้านให้หมดเร็ว ๆ มาให้นำไปปฏิบัติกันดังนี้ค่ะ

1. พย าย ามจ่ายให้เกินเ งิ นงวดในทุก ๆ เดือน

เ งิ นสินเชื่อบ้านนั้นจะมีทั้งเ งิ นต้นและเ งิ นด อ ก ในช่วงแรก ๆ นั้นแน่นอนว่าจะมี ด อ ก เ บี้ ย สูงมาก ดังนั้นหากคุณจ่ายเท่ากับจำนวนเ งิ นที่ธนาคารกำหนดมานั้น

คุณต้องใช้ห นี้กันเต็ม ๆ 30 ปีเลยนะคะ ดังนั้นคุณจึงควรจ่ายเพิ่มขึ้นทุก ๆ เดือน เพราะเ งิ นที่จ่ายเกินไปในแต่ละเดือนนั้น ธนาคารจะนำไปล ดเ งิ นต้นของคุณนั่นเอง

ตัวอ ย่ างเช่น เ งิ นงวดที่คุณจะต้องชำระแต่ละเดือนเท่ากับเดือนละ 15,000 บ า ท แต่หากคุณผ่ อ นเกินไปเดือนละ 20,000 บ า ท ก็จะทำให้ เ งิ นต้นของคุณล ดลงไปเดือนละ 5,000 ในทุก ๆ เดือน เมื่อเ งิ นต้นของคุณล ดลงแล้วจะทำให้ระยะเวลาในการผ่ อ นของคุณล ดลงไปด้วยเหลือเพียบ 15-20 ปีเท่านั้น

2. รีบผ่ อ นจ่ายให้มากในช่วง ด อ ก เ บี้ ย ต่ำ

ช่วง 3 ปีแรกของการกู้ซื้ อบ้านแน่นอนว่า ด อ ก เ บี้ ย จะถูกที่สุด เนื่องจากโปรโมชั่นของแต่ละธนาคารจะพย าย ามเสนอให้คุณในอัตราด อ กเบี้ยที่ต่ำกว่าคู่แข่ง เพื่อให้คุณตัดสินใจเลือ ก

กู้กับธนาคารนั้น ดังนั้นคุณจึงควรจัดสรรเ งิ นเก็บในช่วง 3 ปีแรก เพื่อนำมาผ่ อ นให้มากขึ้น เพื่อไปล ดเ งิ นต้นและ ด อ ก เ บี้ ย ในการกู้ เมื่อเ งิ นต้นล ดลงก็จะทำให้ ด อ ก เ บี้ ย ล ดลงเช่นกัน ทำให้ระยะเวลาในการผ่ อ นจาก 30 ปีจะล ดลงไปด้วย

3. โปะเ งิ นก้อน

ในแต่ละปีหากคุณมีเ งิ นเก็บหรือได้โบนัสมาจากบริษัทที่ทำงานอยู่ คุณสามารถนำเ งิ นก้อนเหล่านี้มาโปะห นี้บ้านของคุณ ซึ่งเ งิ นก้อนนี้สามารถ ล ดทั้งต้นและ ด อ ก เ บี้ ย

ลงเป็นจำนวน มากเลยค่ะ หรือคุณอาจจะวางแผนเพื่อจ่ายเ งิ นงวดเพิ่มขึ้นอีก 1 งวด จากเดิมคุณต้องจ่าย 12 งวด แต่ให้คุณจ่ายเพิ่มเป็น 13 งวด ก็สามารถล ดเ งิ นต้นและเ งิ น ด อ ก เ บี้ ย บ้านให้กับคุณไปได้มากเช่นกัน

4. ติดต ามโปรโมชั่นของธนาคารเรื่อย ๆ

ให้คุณหมั่นติดต ามข่ า วส า รของธนาคารที่ตนเองมีสินเชื่ออยู่หรือธนาคารอื่น ๆ ที่เสนอ ด อ ก เ บี้ ย ที่ถูกลง ซึ่งแต่ละธนาคารจะมีโปรโมชั่นบ้านต่างกันไป หากเงื่อนไขของธนาคารนั้น ๆ ตรงกับคุณสมบัติของคุณ ก็เป็นโอกาสดีที่จะทำให้คุณผ่ อ นบ้านในอัตรา ด อ ก เ บี้ ย ที่ล ดลงได้

5. เมื่อครบกำหนดของธนาคารให้ปรับโครงสร้างห นี้ใหม่

โดยส่วนใหญ่แล้วเมื่อผ่ อ นบ้านผ่านไปครบ 3 ปีแล้ว ด อ ก เ บี้ ย บ้านจะเปลี่ยนเป็นแบบ MRR (อัตราด อ กเบี้ยที่ธนาคารพาณิชย์เรียกเก็บจากลูกค้ าร า ยย่อยชั้นดี) ตัวอ ย่ างเช่นใน 3 ปีแรกธนาคารกำหนดอัตรา ด อ ก เ บี้ ย เฉลี่ยอยู่ที่ 3 บ า ทต่อปี เมื่อเข้าสู่ปีที่ 4 ธนาคารกำหนดให้ ด อ ก เ บี้ ย เป็น MMR-1 แล้ว MRR

ในแต่ละปีจะแตกต่างกันไป สมมุติในปีนี้กำหนดให้ MMR = 7เปอร์เซน ดังนั้นกล า ยเป็นว่าปีนี้คุณจะต้องจ่ายเท่ากับ 7-1 = 6 บ า ท ซึ่งหมายถึง ด อ ก เ บี้ ย เพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว

และเ งิ นงวดที่จ่ายไปนั้นจะจ่ายเป็นเ งิ น ด อ ก เ บี้ ย ซะส่วนใหญ่เลยค่ะ จึงจำเป็นอ ย่ างยิ่งที่คุณจะต้องรีบปรับโครงสร้างห นี้เ สี ยใหม่เมื่อเข้าปีที่ 4 โดยมีวิ ธีปรับล ดอัตรา ด อ ก เ บี้ ย 2 วิ ธีดังนี้ คือ

Refinance (การรีไฟแนนซ์) คือ การย้ายห นี้จากธนาคารเดิมของคุณไปยังธนาคารใหม่ ซึ่งธนาคารใหม่จะเสนอ ด อ ก เ บี้ ย ในอัตราที่ถูกลงให้กับคุณเพื่อจะให้คุณสามารถปิดห นี้ได้เร็วขึ้น

Retention (การรีเทนชั่น) คือ การขอล ดอัตรา ด อ ก เ บี้ ย กับธนาคารเดิมที่คุณผ่ อ นชำระอยู่ เพื่อให้ ด อ ก เ บี้ ย ในการผ่ อ นชำระล ดลง หรือเท่ากับปีก่อน ๆ ที่เคยผ่ อ นชำระมา

คุณมีสิทธิ์เลือ กว่าจะทำการรีไฟแนนซ์กับธนาคารใหม่หรือทำการรีเทนชั่นกับธนาคารเดิมก็ได้ ต ามที่เหมาะกับคุณ ซึ่งแต่ละแบบนั้นจะมีข้อ ดีข้อเ สี ยต่างกัน อ ย่ างเช่น การรีไฟแนนซ์นั้น อาจจะทำให้ ด อ ก เ บี้ ย ของคุณถูกลงกว่าธนาคารเดิมมาก แต่คุณจะต้องเตรียมเอกส า รใหม่ทั้งหมด และต้องใช้เวลาในการอนุมัติอีกด้วย และ

อาจมีค่าธรรมเนียมเพิ่มขึ้น มา ส่วนการรีเทนชั่น นั้นไม่ต้องยุ่งย ากในการเตรียมเอกส า ร เพราะธนาคารเดิมของคุณมีข้อมูลอยู่แล้ว การพิจารณา อนุมัติเร็ว หากคุณเป็นลูกค้ าชั้นดี คือจ่ายเ งิ นตรงต ามจำนวนและเวลาที่กำหนดตลอ ด แต่อัตรา ด อ ก เ บี้ ย ก็จะเป็นไปต ามที่ธนาคารกำหนด และมีค่าธรรมเนียมอีกด้วย

6. ไม่สร้างห นี้เพิ่ม

นอ กเหนือจากการพย าย ามผ่ อ นเพื่อล ดเ งิ นต้นล ดเ งิ นด อ กของคุณแล้ว คุณต้องมีวินัยในการใช้จ่าย ด้วยการไม่สร้างห นี้ใหม่ให้เกิดขึ้นเป็นยังไงกันบ้างค่ะ

พอจะทราบวิ ธีปล ดห นี้บ้านของคุณให้หมดเร็ว ๆ กันบ้างแล้วใช่ไหมคะ ดังนั้นหากคุณวางแผนการเ งิ นและค่าใช้จ่ายของคุณดี ๆ ก็สามารถทำให้ห นี้บ้านของคุณหมดเร็วขึ้นนะคะ

ที่มา Fw Line  108resources