รู้หรือไม่ว่าการออมเ งิ น ไม่ได้ย ากอ ย่ างที่คิด เพียงแค่ต้องรู้เ ท ค นิ คการออมเ งิ นและนำมาปรับใช้กับตนเองให้เป็นนิสัย ยิ่งเป็น มนุษย์เ งิ นเดือน บอ กเลยว่าเรื่องการเก็บออมเ งิ นนั้นเป็นเรื่องง่ายกว่าที่คิด เพราะมนุษย์เ งิ นเดือนร า ยรับคงที่ ทำให้สามารถวางแผนเรื่องเ งิ นได้ชัดเจน หากคุณเป็นหนึ่งคนที่อย ากรู้จัก กับวิธีเก็บเ งิ นแบบมนุษย์เ งิ นเดือนด้วยวิธีง่าย ๆ ที่ทำได้จริง บทความนี้จะมาบอ กสู ต รออมเ งิ นแบบหมดเปลือ กให้ทุกคนได้รู้กัน
เ ท ค นิ คที่ 1 แบ่งสัดส่วนเ งิ นให้ชัดเจน
สู ต รออมเ งิ นที่ดี ต้องเริ่มด้วยการแบ่งสัดส่วนค่าใช้จ่ายให้เป็น
สู ต รการออมเ งิ น ข้อแรกก็คือ การแบ่งสัดส่วนของเ งิ น ตั้งแต่ที่ได้เ งิ น มา ข้อ ดีของเ ท ค นิ คการแบ่งสัดส่วนของเ งิ นให้ชัดเจนนั้นคือช่วยให้เราสามารถบริหารเ งิ นได้ง่ายมากยิ่งขึ้น เพราะรู้ว่าเ งิ นที่มีนั้นจะต้องนำไปใช้จ่ายในส่วนใดบ้าง และมีส่วนใดที่เหลือเก็บ หล า ย ๆ คนใช้เ ท ค นิ คการออมเ งิ นแบบนี้ในการเริ่มเก็บเ งิ นง่าย ๆ และได้ผลมาแล้ว
สู ต รแบ่งสัดส่วนที่ถูกนิยมใช้กันคือ 50-30-20 ซึ่งจะแบ่งออ กเป็น ค่าใช้จ่ายประจำวัน-ค่าใช้จ่ายส่วนตัว – เ งิ นสำหรับเก็บออม ยกตัวอ ย่ างให้เข้าใจได้ง่าย ๆ คือ เ งิ นเดือน 20,000 บ า ท ก็แบ่งเป็น 3 ส่วนทันที ส่วนแรก 50เปอร์เซน 10,000 บ า ท ส่วนที่สองจำนวน 30เปอร์เซน 6,000 บ า ท และส่วนสุดท้าย 20เปอร์เซน 4,000 บ า ท
เมื่อแบ่งเ งิ นออ กเป็นสัดส่วนแบบนี้แล้วก็จะทำให้เรามองเห็นภาพมากยิ่งขึ้นว่าในแต่ละเดือนนั้นเรามีเ งิ นสำหรับใช้จ่ายในส่วนต่าง ๆ เท่าไหร่บ้าง อีกทั้งในส่วนของเ งิ น 20เปอร์เซน ที่เป็นส่วนของเ งิ นเก็บนั้น เราสามารถตัดสินใจได้ว่าจะเอาไปเก็บไว้ในบัญชีออมท รั พ ย์ดอ กเบี้ยสูง หรือล ง ทุ น กับกองทุนและประกันชีวิตต่าง ๆ เพื่อเป็นเ งิ นเก็บสำหรับหลังเกษียณ
เ ท ค นิ คที่ 2 ช้อปเท่าไหร่ ออมเท่านั้น
สายช้อปต้องหักดิบ จ่ายเท่าไหร่ เก็บเท่านั้น
อีกหนึ่งสิ่งที่ทำให้การออมเ งิ นไม่สำเร็จ ของมนุษย์เ งิ นเดือนก็คือ การช้อปปิ้ง พอเ งิ นเดือนออ กปุ๊ปก็อย ากจะพุ่งตัวไปซื้ อของที่เล็งไว้ทันที จึงไม่ต้องแปลกใจว่าทำไมถึงเก็บเ งิ นไม่อยู่สักที ดังนั้นใช้จ่ายต ามใจสายช้อปจะต้องลองวิธีออมเ งิ นแบบสายแข็ง
แต่ทำได้จริง ๆอ ย่ างการเก็บเ งิ นให้เท่ากับที่จ่ายออ กไป เช่น หากซื้ อรองเท้าคู่ละ 1,200 บ า ท ก็ต้องหักเ งิ นไปไว้ในบัญชีเ งิ นออมทันที 1,200 เช่นกัน วิธีเก็บเ งิ นวิธีนี้ นอ กจากจะช่วยทำให้เก็บเ งิ นได้จริง ๆ แล้ว ยังจะทำให้เราได้คิดแล้วคิดอีกเกี่ยวกับของที่ต้องการซื้ อ ว่าเราต้องการสิ่งนั้นจริง ๆ หรือไม่
ซึ่งการใช้เ ท ค นิ คการออมเ งิ นแบบนี้ อาจจะทำให้มีเ งิ นเก็บมากกว่า ที่หวังไว้ก็ได้ เพราะจะซื้ ออะไรก็คิดและทบทวนจนไม่ได้ซื้ อ เหลือเ งิ นเก็บอีกเพียบ ยุคนี้มีตัวช่วยให้เก็บได้แบบนี้จริงๆโดยไม่มีข้ออ้างด้วย เรียกว่า โ อ น เ งิ นปุ๊ปเก็บเ งิ นให้ปั๊ปเหมือน หยอ ดกระปุกดิจิทัล
เ ท ค นิ คที่ 3 ศึกษาการล ง ทุ นต่าง ๆ
หากมีเ งิ นเย็น สามารถนำไปล ง ทุ นต่อได้หลากหล า ยช่องทาง
มาถึงเ ท ค นิ คการออมเ งิ นลำดับที่ 3 กันแล้ว การล ง ทุ นนั้นไม่ย ากอ ย่ างที่คิด สำหรับการเริ่มเก็บเ งิ นง่าย ๆ และเริ่มล ง ทุ นแบบไม่ยุ่งย าก อาจจะลองเริ่มจากการล ง ทุ นใน กองทุนรวม ก่อน เช่น กองทุนประเภท SFF/RMF ซึ่งเป็นกองทุนที่ถือระยะย าว แถมยังนำไปลดหย่อนภาษีได้อีกด้วย
SSF ย่อมาจาก Super Savings Fund หรือ กองทุนรวมเพื่อส่งเสริมการออมระยะย าว ที่สามารถล ง ทุ นในหลักท รั พ ย์ได้ทุกประเภท แถมยังไม่มีขั้นต่ำในการซื้ อและไม่กำหนดว่าต้องซื้ อต่อเนื่อง แต่มีข้อแม้ว่าซื้ อได้ไม่เกิน 30เปอร์เซน ของร า ยได้ทั้งปี ทั้งหมดไม่เกิน 200,000 บ า ท โดยเริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2563 – พ.ศ. 2567 ซื้ อแล้วถือได้ย าว ๆ 10 ปีไปเลย แถมยังสามารถนำไปหักภาษีได้อีกด้วย
RMF ย่อมาจาก Retirement Mutual Fund หรือเรียกว่า กองทุนรวมเพื่อ การเลี้ยงชีพ ซึ่งเป็นกองทุนที่สนับสนุนให้คนไทยเก็บออมระยะย าว สำหรับเป็นเ งิ นที่เอาไว้ใช้ในช่วงเกษียณอายุ กองทุนประเภทนี้นั้นจะต้องซื้ อเป็นประจำทุกปี ล ง ทุ นขั้นต่ำ 3เปอร์เซน ของเ งิ นได้แต่ละปีหรือ 5,000 บ า ท และสามารถข า ยคืนได้เมื่อผู้ล ง ทุ น มีอายุ 55 ปีขึ้นไป การล ง ทุ นเหล่านี้เป็นเพียงแค่ส่วนหนึ่งของสู ต รออมเ งิ น ทั้งนี้ทั้งนั้นอ ย่ าลืมว่าทุกการล ง ทุ นนั้น มีความ เ สี่ ย ง ทางที่ดีควรทำการศึกษาหรือปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ที่มีประสบการณ์ก่อนเพื่อความชัวร์ในการล ง ทุ นแต่ละครั้งด้วย
เ ท ค นิ คที่ 4 หาตัวช่วยดี ๆ ในการจัดการเ งิ น
แอปพลิเคชันร า ยรับร า ยจ่าย หรือแอปช่วยออมเ งิ นก็น่าสนใจ
ปิดท้ายเ ท ค นิ คการออมเ งิ นด้วยการมองหาตัวช่วยดี ๆ อ ย่ างการทำร า ยรับร า ยจ่าย ที่ในปัจจุบันนั้น มีแอปพลิเคชันร า ยรับร า ยจ่ายให้ ด า ว น์ โ ห ล ด มาใช้กันแบบฟรี ๆ หลากหล า ยแอป ซึ่งจะช่วยให้เราสามารถวิเคราะห์และวางแผนการใช้เ งิ นของเราได้ว่ามีร า ยจ่ายส่วนใดบ้าง ที่ควรจะต้องลดลง หรือสามารถตัดทอนให้น้อยลงได้ เพื่อให้มีเ งิ นเหลือสำหรับใช้จ่ายและเก็บออมมากยิ่งขึ้น
ที่มา k e p t b y k r u n g s r i yindeeyindee