6 เ ค ล็ ด ลั บเอาตัวรอ ด เก็บเ งิ นได้สบาย มีใช้ถึงเดือนต่อไป

ปัญหาหลัก ๆ สำหรับคนทำงาน ที่มักจะเกิดขึ้น ก็คือเ งิ นเดือน ชั ก หน้าไม่ถึงหลัง เ งิ นเดือนออ กปุ๊บ ก็ใช้หมดปั๊บ ทั้งจ่ายบัตรเครดิต จ่ายค่าที่พัก ค่าผ่อนรถ ค่าน้ำ ค่าไฟ และค่าจิปาถะ จนไม่ต้องถามเลยว่ามีเ งิ นเหลือเก็บบ้างหรือเปล่า ฉะนั้นถ้ามนุษย์เ งิ นเดือนทั้งหล า ยที่ อ ย า ก มีเ งิ นเดือนพอใช้ไปจนถึงวันเ งิ นเดือนออ กครั้งใหม่ วันนี้มีเ ค ล็ ด ลั บในการเอาตัวรอ ดมาฝาก

1.หยอ ดกระปุกสุดคลาสสิก

ถึงแม้จะเป็นวิ ธีคลาสสิกที่ทำกัน มาเนิ่นนานและมีเพียงเด็ก ๆ เท่านั้นที่สนุกกับการหยอ ดกระปุก แต่อ ย่ าลืมว่าผู้ใหญ่อ ย่ างเรา ๆ ก็สามารถเอาวิ ธีนี้มาช่วยเก็บเ งิ นได้เหมือนกัน โดยเฉพาะเศษเหรียญที่ได้มาในแต่ละวัน หากนำมาหยอ ดกระปุกทุกครั้งที่กลับถึงบ้าน รับรองว่าช่วงเ งิ นหมดจะสามารถแคะออ กมาใช้จ่ายได้อ ย่ างน่าตื่นเต้นเลยล่ะ

2.ตุนของในซูเปอร์มาร์เกต

ของใช้ อ า หารแห้ง และอื่น ๆ ที่ต้อง ซื้ อ ติดบ้านเป็นประจำ ควรเข้าซูเปอร์มาร์เกต เพื่อ ซื้ อ ตุนเอาไว้ตั้งแต่ช่วงเ งิ นเดือนออ ก เพื่อจะได้ไม่ต้องมีค่าใช้จ่ายจุกจิกในส่วนนี้เข้ามาเบียดเบียนเ งิ นในช่วงกลางเดือน อีกทั้งการ ซื้ อ ของพร้อม ๆ กันจำนวน มากอาจได้ส่วนลดเพิ่ม หรือทำให้คุณมี อ า หารแห้งและบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป คอยต่อชีวิตในช่วงนับถอยหลังรอเ งิ นเดือนครั้งใหม่ออ กด้วยนะ

3.กินหรูบ้างข้างทางบ้างสลับกันไป

แน่นอนว่าทำงาน มาเหนื่อย ๆ ใครก็ อ ย า ก ลองลิ้มชิม อ า หารอร่อย ๆ เติมพลังให้ตัวเอง แต่อ ย่ าลืมว่าถ้า โ ห ม กินทุกวันในช่วงต้นเดือน กว่าจะถึงปล า ยเดือนคงใช้ชีวิตลำบากแน่ ดังนั้นทางที่ดีควรวางแผนให้ดีตั้งแต่เนิ่น ๆ เช่น อนุญาตให้ตัวเองกินร้านแพง ๆ ได้อาทิตย์ละ 1 วัน จากนั้นก็กิน อ า หารจานละ 25-30 ทั่วไป หรือถ้าทำเองได้ยิ่งดี เพียงเท่านี้คุณก็จะกำหนดค่าใช้จ่ายสำหรับการรับประทานในแต่ละเดือนได้คร่าว ๆ แล้ว

4.แบ่งเ งิ นเป็นร า ยวัน

จากเ งิ นเดือนที่ได้รับ หาก อ ย า ก ใช้ให้พอ ดีไปจนถึงเ งิ นเดือนออ กครั้งหน้า ควรนำยอ ดเ งิ นที่ใช้ได้ทั้งหมดมาหารจำนวนวันที่เหลือ เช่น 10,000 บาท หาร 30 วัน เท่ากับใช้เ งิ นได้วันละ 333 บาท (บวกลบนิดหน่อย) แล้วนำเ งิ นแยกใส่ซองเอาไว้ทั้งหมด 30 ซอง พร้อมกับเขียนวันที่กำกับไว้ด้วย แล้วก็หยิบไปใช้วันละซองจนกว่าจะหมดเดือน ถ้าหากวันไหน มีเ งิ นเหลือจะหยอ ดกระปุกไว้ หรือเอามารวมกับซองของวันถัดไปก็ได้นะจ๊ะ

5.รูดบัตรเครดิตเท่าที่มีจ่าย

ถึงแม้บัตรเครดิตจะช่วยให้ชีวิตสะดวกสบายขึ้น แต่อ ย่ าลืมว่าเป้าหมายหลักของธุรกิจบัตรเครดิต ก็คือ ดอ กเบี้ยจากการใช้จ่ายของคุณ ดังนั้นหากไม่ถึงคราวจำเป็น หรือแน่ใจว่ามีเ งิ นชำระเต็มจำนวนในรอบบิลนั้นแน่ ๆ ก็อ ย่ ารูดเ งิ นอนาคตมาใช้จะดีกว่า จะได้ไม่ต้องเ สี ยดอ กเบี้ยโดยใช่เหตุ หรือเป็นห นี้พอ กหางหมูไม่จบไม่สิ้น

6.ซื้ อ ของชิ้นใหญ่ เลือ กแบบ ผ่ อ น 0 เปอร์เซน

มนุษย์เ งิ นเดือนที่ อ ย า ก ได้ข้าวของชิ้นใหญ่ ร า ค าโต ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์ไฮเทค ทีวี เครื่องซักผ้า ฯลฯ และรู้ตัวดีว่าถ้ารอเก็บเ งิ นก้อนคงไม่มีโอกาสได้ ซื้ อแน่ ๆ ลองใช้บัตรเครดิตที่ถืออยู่ให้เป็นประโยชน์ ด้วยการสำรวจ โ ป ร โ ม ชั่ น ผ่ อ น 0 เปอร์เซน แล้วเลือ ก ซื้ อ ด้วยวิ ธีนี้น่าจะเป็นทางออ กที่ดีที่สุด เพราะนอ กจากจะไม่เ สี ยดอ กเบี้ยแล้ว

ยังสามารถแบ่งจ่ายได้ ทำให้ไม่กระทบกับเ งิ นเดือน มากนัก แต่ช้าก่อน อ ย่ าลืมว่าต้องรูดเมื่อจำเป็น และ ผ่ อ น ชำระให้ครบทุกบาทอ ย่ างตรงเวลาเท่านั้นนะคะ ได้รู้จักกับเทคนิคการใช้เ งิ นเดือนให้อยู่รอ ดไปจนถึงเดือนต่อไปแล้ว ก็อ ย่ าลืมลองนำไปปรับใช้ให้เหมาะกับวิถีชีวิตเ งิ นเดือนของคุณ จะได้ไม่ต้องคอยนับถอยหลังรอวันเ งิ นเดือนออ กแล้ววนเป็นวัฏจักรเดิมอีกต่อไป และเมื่อมีเ งิ นเหลือเมื่อไหร่ ก็อ ย่ าลืมเก็บไว้เป็นเ งิ นออมด้วยจ้า

ที่มา kroobannok  sabailey