ถ้าเจอลูกน้องที่เก่งกว่าหัวหน้า จะรับมืออ ย่ างไร

เราทุกคนต่างมั่นใจว่าตัวเองนั้นเก่ง และความเก่งที่ทำให้ได้เป็นหัวหน้าคนได้ แต่ถึงแม้ว่าเราจะเป็นหัวหน้าก็ไม่ได้ห ม า ยความว่าจะไม่มีคนเก่งกว่าเรา ฉนั้นเราจึงต้องเตรียมรับมือให้ได้ถ้าหากคนที่เก่งกว่าเรานั้นคือลูกน้องของเรา

ใครที่รู้จักผลงานวรรณก ร ร ม อันเลื่องชื่อจากแดน มังกร อ ย่ างสามก๊กคงพอจะได้ยินกิตติศัพท์ ความฉลาดล้ำลึก จากตัวละครอ ย่ าง ขงเบ้ง เคยสงสัยกันบ้างหรือไม่ว่า เหตุใดคนเก่งสติปัญญาเฉียบแหลม เช่นขงเบ้งนี้ ถึงยอมทำงานให้กับเล่าปี่ ซึ่งเป็นผู้นำในแบบที่ก้าวสู่ความสำเร็จได้ ก็เ พ ร า ะคนที่อยู่แวดล้อม

รอบกายเป็นหลั กในโลกการทำงานจริงนั้น บ่อยครั้งที่เจ้านาย หรือหัวหน้า อาจไม่ได้เฉียบแหลม กว่าลูกน้องเสมอไป คล้ายคลึงกับเรื่องราวของเล่าปี่กับขงเบ้ง หรือแม้แต่แม่ทัพ ที่เกรียงไกรย่อมต้องมี ทหารเอกเก่งๆคู่ใจ ย ามรบกับใคร ก็มักได้รับชัยชนะอยู่เสมอ เปรียบเหมือนการมีคนเก่งๆหรือลูกน้องฝีมือ ดี อยู่ในองค์กร พวกเขาเหล่านี้นี่แหละ

ที่จะมีบทบาทสำคัญช่วยส่งเสริมการทำงาน ให้เราประสบความสำเร็จได้ไม่ย าก ก้าวสู่เส้นชัยได้ต ามความมุ่งหวังตั้งใจ แทนที่เจ้านายหรือหัวหน้า จะรู้สึกนอยด์ หรือ กลัวเ สี ยหน้าเมื่อมีลูกน้องที่ทำงานเก่งกว่า ให้ลองเปลี่ยน มุมมองเ สี ยใหม่ พลิกสถานการณ์ให้เป็นความท้าทายแม้ความเชื่อเดิมๆ หรือภาพจำส่วนใหญ่

อาจทำให้เรารู้สึกว่าคนเก่งโดยมาก มักมีความมั่นใจและมีความเป็นตัวของตัวเองสูง ทำให้ควบคุมบริหาร จัดการได้ย าก สำหรับเรื่องนี้ก็ไม่ใช่สิ่ง ที่ต้องกังวลจนเกินไปนัก เ พ ร า ะบรรดาผู้นำ ที่ประสบความสำเร็จทั้งหล า ย ล้วน มีกุศโลบาย รับมือจัดการกับลูกน้องเก่งๆได้ พอจะหยิบยกมาเป็นแนวทาง ให้สามารถนำไปปรับใช้กันได้ต ามความเหมาะสม

1.รู้กว้างสร้างวิสัยทัศน์

บางครั้งหัวหน้า อาจไม่มีความรู้ และความชำนาญ ในงานระดับปฏิบัติ การอ ย่ างลึกซึ้งเท่าลูกน้อง เ พ ร า ะไม่ได้อยู่หน้างาน อ ย่ างใกล้ชิดทุกวัน แต่หัวหน้า ก็จำเป็นต้องมีความรู้ เรื่องอื่นๆที่ลูกน้องไม่รู้ด้วย เช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นวิสัยทัศน์ย าวไกล การวางกลยุทธ์ อ ย่ างแยบคาย การตัดสินใจ อ ย่ างรอบคอบ การบริหารจัดการเรื่องต่างๆ อ ย่ างราบรื่น หรือแม้แต่การ แก้ปัญหาอ ย่ างเฉียบคมความรู้แบบกว้างๆนี่แหละ ที่จะเป็นตัวช่วยเพิ่มมูลค่า ของหัวหน้าและเรียกความศรัทธาจากลูกน้องได้เป็นอ ย่ างดี

2.เรียนรู้จากคนเก่ง

เปลี่ยนการแย่งซีน การแข่งขันชิงดีชิงเด่น ให้เป็นการเรียนรู้ร่วมกัน หัวใจสำคัญของการบริหาร คือ การจัดการคน และกำหนดทิศทาง ในการทำงานให้ทีม ไม่ใช่การแข่งขันประลองความรู้ กับลูกน้อง คนเป็นหัวหน้า มีหน้าที่ต้องเอาชนะใจ ไม่ใช่เอาชนะงาน ดังนั้นถ้าลูกน้องเก่งกว่าก็เรียนรู้จากเขา ถามคำถาม

และบางครั้งอาจลงมือทำเองบ้าง เพื่อจะได้มีโอกาส สัมผัสกับหน้างานจริงๆ อ ย่ ามองว่าเป็นเรื่องเ สี ยฟอร์มเ สี ยการปกครอง ไม่แน่ว่าการใส่ใจถามไถ่ เรื่องงานของหัวหน้า ถ้ามาถูกทางอาจเกิดผลพลอยได้ ในเรื่องการสร้างความยอมรับ และเป็นการกระชับความสัมพันธ์กันอีกทางหนึ่งด้วย

3.ให้เครดิตเสริมสร้างกำลังใจ

ให้กำลังใจคนทำงานเก่งๆด้วยการถ่ายทอ ด เรื่องราวความสำเร็จ ในการทำงานของพวกเขา ให้เพื่อนร่วมงานหรือผู้บริหารคนอื่นๆฟัง ชื่นชมคนเก่งว่า เป็นคนสำคัญของทีมและขององค์กรโดยรวม ไม่ว่าใครก็ต้องรู้สึกดีทั้งนั้น เมื่อหัวหน้าหรือเจ้านายมองเห็นคุณค่าในตัวเรา

4.ดันดารา

เปิดโอกาสให้ลูกน้องเก่งๆ ได้เรียนรู้และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ เมื่อเห็นโอกาสที่ดี และเหมาะสมก็ไม่ควรเก็บเขาไว้ที่เดิม จนไม่ได้มีโอกาสเติบโต ส่งเสริมให้เขาได้มีโอกาส รับผิ ดชอบงานใหม่ๆที่ท้าทาย และเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่ง ได้เติบโตในสายงานขึ้นเป็นลำดับ

5.ใช้คนเก่งให้เป็นประโยชน์

เมื่อมีคนเก่งอยู่ในทีมจงใช้ข้ อได้เปรียบ นี้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดพย าย ามดึง ความสามารถต่างๆของพวกเขา ออ กมาใช้ ค้นหาว่าพวกเขามีจุดเด่นในเรื่องใด อะไรเป็นสิ่งที่พวกเขา ต้องเรียนรู้เพิ่มเติม แล้วท้าทายพวกเขา ด้วยการมอบห ม า ยงาน ที่จะสามารถนำคนเก่งเหล่านี้ไปสู่ความก้าวหน้าในอนาคตได้

6.ยิ่งไม่รู้ยิ่งต้องถาม

คนเราไม่ได้เก่งทุกอ ย่ างฉันใด หัวหน้าหรือเจ้านายก็ไม่ได้รู้ทุกเรื่องฉันนั้น อ ย่ าติดกับดักความคิดที่ว่า หัวหน้าต้องเก่งกว่าลูกน้อง เมื่อหัวหน้าถูกลูกน้อง ถามในเรื่องที่ไม่รู้ การพูดตรงๆว่าไม่รู้ แม้ฟังดูง่ายแต่ก็ย ากมหาศาล สิ่งที่ช่วยได้มากที่สุด ก็คือความกล้าที่จะเผชิญหน้ากับความจริง

ไม่ใช่สิ่งที่น่าอับอาย เมื่อมีเรื่องที่เราไม่รู้ แต่เป็นทักษะที่ผู้นำทั้งหล า ย ต้องฝึกฝนให้เป็นนิสัย เมื่อไม่รู้ให้ตอบต ามตรง และขอความช่วยเหลือ จากคน มีความรู้ความสามารถ อ ย่ ามองว่าเป็นพฤติกรร มนี้ เป็นเรื่องของคนอ่อนแอ กลับกันเป็นการแสดงออ ก ถึงความเข้มแข็งอ ย่ างที่สุด เ พ ร า ะกล้าหาญที่จะยอมรับความจริง ในเรื่องที่ไม่รู้ หรือทำไม่ได้ หัวหน้าที่ทำเช่นนี้ได้ถือว่าน่าชื่นชมสุดๆ

7.กำจัดความกลัวสร้างความมั่นใจ

คนทั่วๆไปย่อมมีความกลัว ในเรื่องต่างๆเป็นธรรมดา ทั้งกลัวไม่เป็นที่รัก กลัวไม่ดีพอ กลัวไม่เข้าพวกฯลฯ ความกลัวเหล่านี้เป็นจุดเริ่มต้น ของความไม่มั่นใจ และไม่เป็นตัวของตัวเอง วิธีการรับมือ กับความกลัว ไม่ใช่เรื่องย าก เพียงยอมรับความกลัว ด้วยความมั่นใจแล้วเดินหน้าต่อไป

ให้เตือนตนเองเสมอว่า การจ้างและพัฒนาคน ที่มีความสามารถ เป็นสิ่งที่เจ้านาย และหัวหน้าที่ดี ควรทำเพื่อผลดีของทีม และเพื่อประโยชน์สูงสุดขององค์กร ลูกน้องเก่งทำให้ประสิทธิภาพ ของทีมดีขึ้น มากและเป็นประโยชน์ต่อองค์กร ถึงตรงนี้ถ้าอย ากมองหา คนเก่งมาร่วมทำงานด้วยก็มีตัวช่วยที่ work สุดๆ ให้ผู้ประกอบการ

ได้มีโอกาสเฟ้นหา ผู้สมัครงานที่มีศักยภาพได้ อ ย่ างง่ายแสนง่าย อย ากให้องค์กรพัฒนา ก้าวหน้าต้องหาคนที่ใช่ มาร่วมทีม ไม่ต้องกลัวลูกน้องเก่งกว่า เ พ ร า ะยิ่งเก่งก็ยิ่งดีที่สุดแล้ว ผลดีย่อมตกอยู่กับองค์กรของเรานั่นเอง

ที่มา th.jobsdb  stand-smiling