เชื่อว่าแทบจะทุกบ้าน มีลูกมีหลานที่มีนิสัยดื้ อรั้น พูดไม่ค่อยจะเชื่อฟัง และเชื่อว่ามีหล า ยคนคอยนั่งตั้งคำถาม ถามตัวเองอยู่ว่าทำไมลูกฉันดื้ อจัง ทำไมพูดไม่ค่อยเชื่อฟัง แล้วจะทำอ ย่ างไรดี จะแก้ยังไง หากคุณเป็นคนหนึ่ง เป็นต ามที่กล่าวมาข้างต้น วันนี้เราจะพามาดูถึงสาเหตุที่ทำให้ลูกเราดื้ อ กัน และจะแก้อ ย่ างไร พร้อมแล้วไปดูกันเลย
1. เ ด็ กไม่ได้รับความสนใจเมื่อทำตัวดี อ ย่ างที่บอ กไปข้างต้น ว่าโดยทั่วไปเ ด็ กต้องการความรัก ความใส่ใจ คำพูดดีๆ จากจากพ่อแม่ แต่หากเ ด็ กทำตัวดี เชื่อฟัง ว่านอนสอนง่ายมาเรื่อยๆ
แล้วพ่อแม่กลับทำเฉย ไม่สนใจ เหมือน มองไม่เห็นการทำดีนั้น พอมาวันหนึ่ง ด้วยเหตุอะไรก็ต ามเ ด็ กบังเอิญได้ทำตัวไม่ดี ดื้ อ ไม่เชื่อฟัง อ า ละ ว าด โวยวายขึ้น มาสักครั้งสองครั้ง พ่อแม่รีบเข้ามาสนใจ
ให้ความสำคัญ เห็นเป็นเรื่องใหญ่ และบางทียังได้ของที่อย ากได้ ที่เวลาพูดขอ ดีๆ กลับไม่ได้ เพื่อเป็นการตัดรำคาญหรือติดสินบนให้หยุดดื้ อ หยุดโวยวาย อ า ล ะว าด เอาแต่ใจหากเป็นแบบนี้ เ ด็ กจะเรียนรู้ที่จะทำตัวไม่ดีเวลาอย ากได้ความสนใจหรือเวลาอย ากได้อะไรจากผู้ใหญ่
วิ ธีแก้ พ่อแม่ให้ ความสนใจทางบวก เวลาลูกทำตัวดีให้เป็นคำชม ยิ้มให้ลูก พยักหน้าแสดงความสนใจแสดงท่ารับรู้ ลูบศีรษะ กอ ด ฯลฯ ทำเช่นนี้บ่อยๆ ทุกครั้ง ที่ลูกทำตัวดีการให้ความสนใจทางบวกกับลูกอ ย่ างสม่ำเสมอ
เป็นเสมือนการเติมพลั งใจ สร้างแ ร งจูงใจในการทำตัวดีให้กับลูกเป็นการแสดงออ กให้ลูกรู้ว่าคุณรับรู้ คุณค่าในตัวเขา ตอบสนองความต้องการ ของลูกที่อย ากได้การยอมรับ ความรักความสนใจจากพ่อแม่และผู้ใหญ่ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นความต้องการพื้นฐานที่มนุษย์ทุกคนต้องการ
2. ลูกโ ก ร ธ เ ศ ร้ า หรือ กังวล เวลาเ ด็ กมีความรู้สึกลบๆ พวกเขามักจะระบายอารมณ์ออ กมาเป็นพฤติก ร ร มที่ไม่เหมาะสม เช่น ดื้ อ ต่อต้ าน ก้าวร้ าว ทำร้ ายคนอื่น ทำล ายข้าวของ
วิ ธีแก้ ก่อนที่จะพูดตำหนิหรือไม่พอใจลูก ให้ลองพิจารณาว่าช่วงนี้ ลูกมีอารมณ์และการแสดงออ กด้านอื่นที่เปลี่ยนไปจากเดิมด้วยหรือไม่ เช่น เงียบลง ดูหงอยๆ
แยกตัว ไม่ร่าเริง กินน้อย นอนย าก ร้องไห้ง่ายกว่าเดิม หงุดหงิดง่าย ขี้โ ม โ หกว่าเดิมถ้าพ่อแม่สังเกตเห็นอาการเหล่านี้ ให้ลองคุยกับลูกว่ามีเรื่องอะไรไม่สบายใจ
ลองถามดูว่าที่โรงเรียนเป็นยังไง ทั้งเรื่องครู เรื่องเพื่อน เรื่องการเรียนถามไถ่ชีวิตลูก จะได้รู้สาเหตุที่ทำให้ลูกมีอารมณ์และการแสดงออ กที่ผิ ดไปจากเดิม อาจ จะช่วยชี้แ น ะลูกถ้าช่วยได้
3. ลูกเห็นพฤติก ร ร มไม่เหมาะสมจากพ่อแม่ และเกิดการเลียนแบบ วิ ธีแก้ เ ตื อ นตัวเองว่าลูกจำและเรียนรู้จากเรา เราต้องเป็นต้นแบบของพฤติก ร ร มที่เหมาะสมให้กับลูก
4. พื้นอารมณ์ของลูก เ ด็ กบางคนเป็นเ ด็ กที่มีพื้น อารมณ์อ่อนไหว หงุดหงิดง่าย ปรับตัวย าก มีความคิดและอารมณ์ค่อนไปทางลบ เ ด็ กกลุ่มนี้มักจะแสดงท่าทีต่อต้ าน ไม่ร่วมมือ กับคนอื่นอยู่บ่อยๆ มีความคับข้องใจง่ายจะแสดงพฤติก ร ร มถดถอย ทำตัวไม่สมวัย
วิ ธีแก้ พ่อแม่ควรทำความเข้าใจ ในเรื่องพื้นอารมณ์ของเ ด็ ก และตอบสนองลูกให้เหมาะกับพื้นอารมณ์ของเค้า จะช่วยลดความคับข้องใจของลูกลงไปได้ ช่วยให้ลูกปรับตัว
กับสิ่งต่างๆ ได้ดีขึ้นเมื่อคุณพ่อคุณแม่ทราบถึง 5 สาเหตุสำคัญที่ทำให้ลูก มีพฤติก ร ร มดื้ อ ต่อต้ าน ไม่เชื่อฟังแล้ว ลองนำไปใช้สังเกตลูกดูว่าเป็นแบบนี้หรือไม่ หากพบว่าใช่
ควรรีบปรับพฤติก ร ร มตัวเอง เน้นที่ พ่อแม่ปรับพฤติก ร ร มของตัวเองที่กระทำต่อลูก จะพบว่าลูกร่วมมือ กับพ่อแม่มากขึ้น ต่อต้ านลดลงให้ค่อยๆ ปรับตัวเองและ
สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกเพิ่มขึ้นทุกวัน แต่หากลูกยังมีพฤติก ร ร มดื้ อ ต่อต้ านเช่นเดิม แ น ะนำว่าควรปรึกษา กุม าร แ พ ท ย์ หรือจิตแ พ ท ย์ เ ด็ กเพื่อประเมินสภาวะ อารมณ์ จิตใจ ความคิด และการปรับตัวของลูก เพื่อได้รับการดูแลช่วยเหลือให้ตรงสาเหตุต่อไป
5. ลูกไม่ได้รับการสอนว่าพฤติก ร ร มที่ดีคืออะไร บางบ้านไม่สอนอะไรว่าอะไรถูก อะไรผิ ด อะไรทำได้ อะไรทำไม่ได้ ไม่มีการกำหนดขอบเขตพฤติก ร ร มที่ควรและไม่ควรทำในครอบครัว
วิ ธีแก้ สั่งสอนลูก ชี้แ น ะให้รู้จักขอบเขตที่ชัดเจนของพฤติก ร ร มที่ทำได้และทำไม่ได้ตัวอ ย่ างในการสอนลูก เวลาเห็นลูกทำตัวไม่เหมาะสม ในเรื่องใดก็ต าม
ควรพูด เ ตื อ นทันที อ ย่ าปล่อยผ่านไป โดยให้พูดบอ ก สั้นๆ ง่ายๆ ใช้น้ำเ สี ยง สีหน้ากลาง ๆ ไม่ใช้อารมณ์ แต่ท่าทางเอาจริงลองฝึกพูดกับหน้ากระจกดูก่อนก็ได้ว่าหน้าต า
ท่าทางเราดูคุกคามลูกเกินไปมั๊ยหรือน้ำเ สี ยงเราอ่อน ข า ดความเด็ดข า ดตัองบาลานซ์ให้พูดกับลูกสาววัย 4 ขวบ ที่กำลังแ ย่งของเล่นจากพี่ชายวัย 6 ขวบ ว่า หนูไม่แ ย่งของจากมือพี่
หนูขอพี่แล้วรอให้พี่ส่งของให้ค่ะ เมื่อลูกเอาเท้ายกขึ้น มาบนโต๊ะตอนกินอาห าร ให้พูดกับลูกว่า โต๊ะไว้วางอาห าร ลูกเอาเท้าวางบนพื้นค่ะ
ที่มา navavej fahhsai