ร า ยจ่ายในชีวิตประจำวันนั้น มีอยู่ มากมายแบบนี้จะมีวิ ธีอุดร า ยจ่ายอ ย่ างไร เรามาลองมาดูกันว่าถ้าอย ากมีเ งิ นเก็บ มากขึ้นเพื่อสร้างความมั่นคงให้กับชีวิต มีเ ท ค นิ คอะไรที่ทำได้ในชีวิตประจำวัน กันบ้าง 17 วิ ธีเก็บเ งิ นดีๆ ที่คุณควรเริ่มทำตั้งแต่วันนี้
1. ค่าอาหารร า ยจ่ายประจำที่ล ดได้
จากข้ อมูลในข้ อที่แล้วซึ่งพบว่า ค่าอาหารเป็นหนึ่งในค่าใช้จ่ายก้อนใหญ่ที่สุดก้อนหนึ่งในชีวิต ประจำวัน วิ ธีหนึ่งที่จะล ดรูร า ยจ่ายก็คือ การประหยัดค่าใช้จ่ายก้อนนี้ให้มากขึ้น สำหรับการล ด ร า ยจ่ายค่าอาหารมีเกร็ดเล็กเกร็ดน้อย เช่น ทำอาหารทานเอง หรือทานกับข้าวร่วมกันกับทีม
2. งบประมาณควรแบ่งประเภทและลำดับความสำคัญ
จากข้ อที่แล้วจะช่วยให้เราเห็นงบประมาณร า ยจ่ายทั้งหมดหลังหั กเ งิ นออมที่คาดหวัง ทั้งนี้เมื่อลงมือจริง หล า ยครั้งก็จ่ายไม่ได้จริงต ามที่ตั้งใจเพร าะมักจะจ่ายให้กับ สิ่งที่ไม่สำคัญแต่เกิดขึ้นก่อน เช่น จ่ายให้กับค่าอาหารที่อย ากทานในแต่ละวันก่อน
จนลืมคิดไปว่ามีส่วนที่สำคัญที่จะต ามมาในช่วงปล า ยเดือน เช่น ค่าเช่าบ้าน ค่าน้ำค่าไฟ ค่าผ่อนสินค้ า เป็นต้น ทำให้ใช้เ งิ นเยอะกว่างบประมาณ ทางที่ดีควรวางแผนร า ยจ่าย ให้ละเอียด ตั้งงบประมาณให้กับร า ยจ่ายประจำที่สำคัญก่อน
3. ล ดร า ยจ่ายเรื่องเสื้อผ้า
เปลี่ยนสิ่งที่ไม่ใช้แล้วเป็นเ งิ นเข้ากระเป๋า รวมไปถึงเสื้อผ้าที่กำลังล้นตู้อยู่ หล า ยคน มีเสื้อผ้า เยอะมาก แต่ใส่ไปไม่ถึง 50 เปอร์เซ็นต์ของทั้งหมด มีผลวิจัยเคยกล่าวไว้ว่าคนไทยซื้ อ เสื้อผ้ามากขึ้นร้อยละ 3 ต่อปี
ไม่แปลกใจเลยที่จะล้นตู้ แนะนำว่าให้ตัดใจแล้วนำไปข า ยต่อ หรือลองเรียนรู้วิ ธี DIY เปลี่ยนชุดเก่าให้เป็นชุดเก๋ รวมถึงหากนำเสื้อผ้าที่มีมาจับคู่ดีๆ เปลี่ยนไปมาก็ดูเหมือนคุณมีเสื้อผ้าใหม่ๆ ตลอ ดเวลาได้เหมือนกัน
4. ตั้งต้นด้วยเ งิ นออม
หล า ยคนคิดว่าเ งิ นเก็บหรือเ งิ นออม คือเ งิ นที่เหลือจากการใช้จ่าย ร า ยได้ – ร า ยจ่าย = เ งิ นออม ซึ่งถูกต้อง แต่ไม่ใช่แนวคิดตั้งต้นที่ดีสำหรับคนที่อย ากเก็บเ งิ นให้ได้อ ย่ างมีวินัย เราไม่ควรมองเ งิ นออมเป็นเ งิ นเหลือ แต่ควรมองเป็นเ งิ นที่ถูก จัดหมวดหมู่ เอาไว้ว่านี่คือ
เ งิ นออมโดยเฉพาะ เช่น เราจะออมเ งิ น 2,000 บ า ท โดยเรามีเ งิ นเดือน 20,000 บ า ท แปลว่า เราต้องใช้จ่ายให้ไม่เกิน 18,000 บ า ท เมื่อคิดในมุมนี้ สมการที่เราควรตั้งต้น
ไม่ควรเป็นร า ยได้ – ร า ยจ่าย = เ งิ นเหลือเพื่อ การออม แต่ควรเป็นร า ยได้ – เ งิ นออม = ร า ยจ่าย หรือก็คือ เราควรหั กเ งิ นออมเก็บเอาไว้ก่อน แล้วค่อยใช้จ่ายต ามงบ ประมาณที่มีนั้นเอง
5. จดบันทึกให้เป็นนิสัย
จากผลสำรวจของบริษัท YouGov ในปี 2558 ผลการสำรวจนี้พบว่าคนไทยมี ค่าใช้จ่ายปริศนา สูงถึง 72เปอร์เซน ของร า ยจ่ายทั้งหมด ซึ่งสรุปได้ว่าคนไทยหนึ่งคน มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อสัปดาห์อยู่ที่ 1,588 บ า ท นั่นห ม า ยความว่าค่าใช้จ่ายปริศนาที่ระบุไม่ได้ว่าจ่ายไปกับอะไรจะอยู่ที่ประมาณ
1,143 บ า ท มากกว่าพันบ า ทต่อสัปดาห์เลยทีเดียว ซึ่งผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เชื่อว่า ค่าใช้จ่ายดังกล่าวน่าจะมาจากค่าอาหาร สินค้ าอุปโภคบริโภค ค่าขน มขบเคี้ยว หรือ การซื้ อ สินค้ าฟุ่มเฟือย
6. อ ย่ าซื้ อเสื้อผ้าร า ค าถูก
อีกจุดสำคัญที่ช่วยอุดรอยรั่วจากร า ยจ่ายในการซื้ อเสื้อผ้าก็คือ การเลือ กเสื้อผ้าที่ใช้ วัสดุคุณภาพดี เพร าะเมื่อคุณซื้ อเสื้อผ้าร า ค าถูกที่เนื้อผ้าไม่ดี หรือ การตัดเย็บไม่ดี จะทำให้เสื้อผ้าเหล่านั้นเสื่อมสภาพเร็วหลังจากซักไปเพียงไม่กี่ครั้ง และทำให้คุณ ก็ต้องเ สี ยเ งิ นเพื่อซื้ อเสื้อผ้าใหม่อีกรอบ
7. อ ย่ ามีเฉพาะออมท รั พ ย์
ลองฝากประจำ หรือลงทุ นแบบหั กอัตโนมัติบัญชีเพื่อสร้างวินัยการออม จะได้ไม่ ต้องกังวลว่าเดือนนี้ได้ออมเ งิ นหรือฝากเ งิ นเข้าธนาคารแล้วหรือยัง ซึ่งวิ ธีนี้ง่ายต่อ การไปถึงเป้าห ม า ยการออมที่วางไว้ด้วย อ่านเพิ่มเติมได้ที่บทความการออม และการลงทุ นแบบประจำ
8. เลือ กบัญชีธนาคารดอ กเบี้ยดีๆ
ลองฝากประจำ หรือลงทุ นในกองทุ นรวมเพื่อสร้างผลตอบแทนเพิ่มขึ้นจากการ ฝากเ งิ นทั่วไป แบบการเลือ กหั กบัญชีแบบอัตโนมัติบัญชี ก็สามารถสร้างวินัย การออมได้เหมือนกัน จะได้ไม่ต้องกังวลว่าเดือนนี้ได้ออมเ งิ นหรือยัง ซึ่งวิ ธีนี้ ง่ายต่อ การไปถึงเป้าห ม า ยการออมที่วางไว้ด้วย
9. อ ย่ าบ้าสะสม
ของสะสมเป็นของที่มีคุณค่าทางจิตใจ แต่อ ย่ างไรก็ต าม ใครที่เป็นนักสะสมก็มักจะ เต็มไปด้วยร า ยจ่ายที่รั่วไหล ถ้าคุณไม่หยุดตัวเองเลย เมื่อมองย้อนกลับมาอีกทีอาจ พบว่ามีของสะสมอยู่เต็มบ้านไปหมด แต่เ งิ นในบัญชีกลับว่างเปล่า มีผลสำรวจพบว่า
คนไทยชอบบินไปซื้ อของแบรนด์เนมจากต่างประเทศเป็นตัวเลขมูลค่ามหาศาล ลองเช็กตัวเองดูว่าคุณเป็นอีกหนึ่งคนหรือเปล่าที่ชอบเก็บแบรนด์เนมแพงๆ ไว้ในตู้โชว์ แนะนำให้สะสมบ้างและปล่อยข า ยบ้างเมื่อร า ค าสูงขึ้น เพื่อเป็นการ รั ก ษ าสมดุลทางการเ งิ น
10. ลงทะเบียนรับสิทธิพิเศษ
ร้านค้ าหล า ยร้าน มักมีสิทธิพิเศษให้เมื่อเราไปช้อปปิ้ง ก็ขออ ย่ าละเลยสิทธิพวกนี้ เพร าะบางทีคุณอาจได้รับเช็คของขวัญ บัตรกำนัล ดีๆ ที่ทำให้ประหยัดเ งิ นไปได้ อีกเยอะเลย นอ กจากนั้นควรกดติดต ามแฟนเพจ เว็บไซต์ ที่คอยอัปเดตส่วนล ดบ่อยๆ
เผื่อว่าจะมีโปรโมชั่นที่น่าสนใจโผล่ขึ้น มาให้ได้ช้อป ในยุคนี้ก็มี Mobile Payment หรือ การชำระเ งิ นผ่าน มือถือ เป็นอีกหนึ่งช่องทางหนึ่งที่ทำให้จับจ่ายเมื่อเจอโปรโมชันดีๆ ง่ายๆซึ่งถ้าใช้อ ย่ างมีเหตุมีผล ก็จะพบสิทธิพิเศษต่างๆ หล า ยเรื่อง
11. หยุดใช้บั ต ร เ ค ร ดิ ต จ่ายล่วงหน้าโดยที่ยังไม่มีความจำเป็น
หนี้บั ต ร เ ค ร ดิ ต เกิดขึ้นเพร าะความชะล่าใจในการซื้ อของ ซื้ อก่อนโดยคิดว่า ยังมีเวลา จะหา เ งิ น มาจ่ายทีหลัง หรือมีเ งิ นเพียงพอในธนาคาร แต่เพร าะความสะดวกของบั ต ร เ ค ร ดิ ตก็ทำให้
ใช้เกินงบประมาณที่ตั้งไว้ จนทำให้เก็บเ งิ นได้ไม่ถึงเป้าห ม า ย เ ท ค นิ คง่ายๆ ในการยับยั้งชั่งใจ เขียนข้ อความเ ตื อ นตัวเองบนกระดาษเล็กๆ แปะบนบั ต ร เ ค ร ดิ ตเอาไว้เลย เป็นข้ อความ เ ตื อ นใจให้คิดก่อนซื้ อ
12. ยกเลิกการเป็นสมาชิกที่ไม่ได้ใช้
หากคุณต้องจ่ายเ งิ นเพื่อเป็นสมาชิกกับหล า ยๆ ที่ เพร าะตั้งใจว่าจะมาใช้บริการบ่อยๆ แต่นานๆ ครั้งถึงจะได้ใช้จริง อ ย่ างฟิตเนสที่สมัครไว้เพร าะอย ากหุ่นดี อ ย่ าลืมว่าคุณสามารถต่ออายุ การเป็นสมาชิกในภายหลังได้ ถ้าไม่ได้ไปจริงๆ ก็ยกเลิกไปก่อนก็ได้
13. ซื้ อเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีคุณภาพ
จ่ายเยอะจ่ายย าก จ่ายน้อยจ่ายง่าย แต่น้อยๆ ที่รวมกันอาจสะสมกันเป็นเ งิ นก้อนใหญ่ได้ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ดีจะมีอายุการใช้งานที่นาน ทำให้ไม่ต้องเ สี ยเ งิ นเพื่อเปลี่ยนอันใหม่บ่อยๆ เป็นสิ่งของชิ้นใหญ่ที่ควรลงทุ นเพื่อความสะดวกสบาย และควรตระหนักถึงการประหยัด พลังงานด้วย เพร าะการประหยัดค่าไฟก็ช่วยคืนเ งิ นในกระเป๋าได้
14. สนุกกับความบันเทิงง่ายๆ
การไปเที่ยวต ามห้างส ร ร พ สิ น ค้ า หรือเที่ยวข้างนอ กจะทำให้พบกับสิ่งล่อต าล่อใจมากมายจน จ่ายเ งิ นไปในจำนวน มากกว่าที่ตั้งใจเอาไว้ ลองมีสักวันที่คุณสร้างความสุขและความบันเทิงง่ายๆ
ได้ที่บ้าน อ ย่ างฟังเพลง ดูโทรทัศน์ อ่านหนังสือ ที่เรามักจะซื้ อมาแล้วอ่านไม่จบให้จบเ สี ยก่อน เป็นอีกเ ท ค นิ คเล็กๆ น้อยๆ ในการล ดร า ยจ่ายเรื่องความบันเทิง แต่ทั้งนี้ให้คุณดูความเหมาะสม และความชอบกับคุณและครอบครัวของคุณเองด้วย
15. ใช้กฎ 24 ชั่ วโมง และการเปรียบเทียบ
เวลาที่คุณอย ากซื้ อของร า ค าสูงๆ ให้กลับบ้านไปแล้วไตร่ตรองอีกสัก 24 ชั่ วโมงค่อยเวียนกลับมา ซื้ ออีกครั้ง เพร าะถึงเวลานั้นก็อาจจะไม่อย ากได้แล้ว หรือลองคำนวณร า ค าสิ่งของที่จะซื้ อ เปรียบเทียบกับจำนวนค่าตอบแทนร า ยวันที่จากการทำงานของคุณ
16. อ ย่ าเพียงแค่ประหยัดเ งิ น
การออมเป็นสิ่งทีดี โดยควรตั้งเป้าห ม า ยในการออมระยะสั้น เช่น ออมให้ได้ 300 บ า ทหรือมากกว่า นั้นต่อสัปดาห์ จะทำให้ไม่รู้สึกหนักเกินไปและมีกำลังใจในการเก็บเ งิ น และควรวางแผนการเกษียณ ให้เร็วที่สุดอ ย่ าเพียงแค่ทำงานไปทุกๆ เดือน ทางที่ดีให้ลงทุ นในกองทุ นเอาไว้บ้างเพื่ออนาคต
17. ใช้ระบบขนส่งสาธารณะเ สี ยบ้าง
การโดยสารด้วยรถสาธารณะช่วยให้คุณประหยัดเ งิ นได้มาก และยังช่วยประหยัดพลังงานแทนการ ขับรถยนต์ส่วนตัวด้วย หรือลองซื้ อบัตรร า ยเดือนของรถไฟฟ้า รถเมล์ ก็จะพบว่าค่าโดยสารยิ่งร า ค า ถูกลงไปอีก
นอ กจากการพย าย ามประหยัดเ งิ นจากวิ ธีด้านบน สิ่งที่สำคัญคือ การ ไม่เครียด เพร าะเวลาที่เครียด จะทำให้คุณใช้เ งิ นเยอะขึ้นแบบไม่รู้ตัวเพื่อซื้ อความสุขแบบชั่ วคราว ลองทำแบบค่อยเป็นค่อยไป แล้วคุณจะพบว่า ตัวเองมีเ งิ นเหลือเยอะขึ้นอ ย่ างแน่นอน
ที่มา create-readingth