7 เรื่องที่ต้องคิด ให้ได้หากอายุ 30 แล้ว แต่ชีวิตยังไม่มีอะไร

ไม่มีอะไรที่สามารถกำหนดได้ว่าอายุเท่านี้ ควรมีเ งิ นเก็บเท่าไหร่ เพราะมีหลากหล า ยปัจจัยที่ประกอบกัน แต่สิ่งสำคัญคือควรวางแผนด้านการเ งิ นอ ย่ างไรให้เหมาะสมกับอายุ ร า ยได้ และแผนหลังเกษียณที่ต้องการต่างหาก หากคุณเป็นคนนึงที่ยังไม่มีเ งิ นเก็บ และอายุกำลังจะ 30 แล้ว บอ กเลยว่าการเริ่มต้นวางแผนการเ งิ นและเก็บเ งิ นนั้นไม่ย ากอ ย่ างที่คิด แต่ควรเริ่มจากอะไรบ้าง เราไปดูกัน

1. บริหารความเสี่ ย ง ให้เป็น

การมีสติช่วยให้ เราผ่านทุกปัญหาได้ เพราะสิ่งที่เราจะพูดต่อไปนี้ คือเรื่องของความเสี่ ย ง ต่างๆ ที่เกิดขึ้นไม่ว่าคุณจะโสดหรือไม่ก็ต าม ความเสี่ ย ง ที่ควรพิจารณามี 3 ด้านคือ

1.1 ความเสี่ ย ง ด้านชีวิตและสุขภ าพ เริ่มจากการคิดว่า หากเราเจ็ บ ป่ วย หรือเกิ ด เหตุ ไม่คาดคิดครอบครัวจะต้องลำบากเพราะข า ดกำลังสำคัญรึเปล่า หากคำตอบคือใช่ เราลองบริหารความเสี่ ย ง โดยการซื้ อประกั น ดีมั้ย

1.2 ความเสี่ ย ง ด้านท รั พ ย์สิน นั่นก็ คือหากเราหยุดทำงาน ไม่ว่าจะลาออ กหรือไม่อย ากลาออ กก็ต าม เรามีความพร้อมรึยัง

หากไม่มี สิ่งแรกที่ควรทำคือสำรองเ งิ นฉุกเฉิ น ประมาณ 6 เดือน ของร า ยจ่ายเอาไว้ก่อน

1.3 ความเสี่ ย ง ในการดำเนินชีวิต เช่น หากวันหนึ่งเพื่อนๆ ขับรถแล้วเกิด อุ บั ติ เ ห ตุ เรามีประกั น ภั ยรถยนต์รึเปล่า ถ้าไม่มีจะซื้ อมั้ย ซื้ อประกันแบบไหนดี

2. เริ่มทยอยปลดห นี้ให้หมดได้แล้ว

ไม่ว่าจะเป็นค่าผ่อนรถ, ค่าบั ต ร เ ค ร ดิ ต, หรือแม้แต่ค่า ผ่ อน สินค้ า 0เปอร์เซน ต่างๆ นั่นเพราะยิ่งปลดห นี้เร็วเท่าไหร่ เราก็สามารถนำเ งิ นไปต่อยอ ดได้มากขึ้นเท่านั้นครับ

และถ้ายังไม่แน่ใจ ว่าจะปลดห นี้ยังไงดีแนะนำให้เริ่มจากดูว่าเรามีห นี้ทั้งหมดกี่ร า ย, จำนวนเ งิ นที่เป็นห นี้ของแต่ละร า ย และอัตราดอ กเบี้ย จากนั้นให้จัดลำดับห นี้โดยให้ห นี้ที่มีอัตราดอ กเบี้ยสูงสุดอยู่ด้านบน และเริ่มต้นปลดห นี้จากก้อนนั้นก่อน แล้วค่อยๆ ทยอยปิดห นี้ก้อนอื่นๆ ต่อไปจนหมดครับ

3. คุณต้องมีเ งิ นสำรองฉุกเฉิ น อ ย่ างน้อย 6 เดือน

คิดจาก ร า ยจ่ายปกติ ต่อเดือน x 6 เดือน = เ งิ นสำรองฉุกเฉิ น ที่ควรมี เ งิ นจำนวนนี้จะช่วยให้เราสามารถรับมือ กับปัญหาด้านการเ งิ นได้ โดยไม่ต้องกู้ยืมเ งิ นคนอื่น เพราะการกู้ยืมเ งิ น อาจจะทำให้เรากลับเข้าไปอยู่ในวงจรห นี้อีกครั้ง

4. รู้ตัวเองก่อนว่า มีอะไรมากกว่ากัน ระหว่าง ท รั พ ย์สิน กับ ห นี้สิน

หากว่าเพื่อนๆ มีร า ยได้เดือนนึง หลักหล า ยหมื่น แต่กลับมีร า ยจ่ายสูงพอๆ กับร า ยรับ สิ่งที่ควรใส่ใจอ ย่ างแรกเลย คือ ลิสต์ร า ยการของท รั พ ย์สิน เพื่อเปรียบเทียบกับห นี้สินที่มีทั้งหมดครับ

และถ้าหากมานั่งงง ว่า เฮ้ย เราก็มีสินท รั พ ย์เยอะนะ มือถือรุ่นใหม่ๆ, กล้องถ่ายรูปแพงๆ ฯลฯ แต่ทำไมยังจนอยู่ มีแต่ห นี้สิน คิดง่ายๆ เลยครับ มือถือ จำนวน 1 เครื่อง ราคาประมาณ 25,000 – 30,000 บ า ท

แต่ราคาข า ยต่อ มูลค่ามันห า ยไป แทบจะครึ่งนึงแล้วครับแค่นี้ก็พอจะมองออ กแล้วใช่มั้ยครับ ว่าเพื่อนๆ ต้องเริ่มกลับมาวางแผนการเ งิ นให้ตัวเองได้แล้ว เริ่มต้นง่ายๆ ที่เริ่มสะสมท รั พ ย์สิน ที่ก่อให้เกิดร า ยได้ เช่น หุ้น กองทุนรวม เป็นต้น

5. ศึกษาเรื่องภาษีได้แล้ว

ยิ่งร า ยได้มาก ก็อ ย่ าลืมว่าภาษี ต้องเพิ่มขึ้นเป็นเงาต ามตัว เพราะถือเป็นกฎหมา ยที่ทุกคนในชาติต้องปฏิบัติต ามสิ่งที่เพื่อนๆ ควรศึกษาคือ กฎหม าย ต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับภาษี ไม่ว่าจะเป็นการลดหย่อน หรือ การละเว้นใดๆ ก็ต าม

6. สร้างงบการเ งิ นในแบบของตัวเองได้แล้ว

แม้เพื่อนๆ จะหาเ งิ นได้มากแค่ไหน แต่หากบริหารเ งิ นไม่ดี เ งิ นที่ได้มา ก็จะห า ยไปง่ายๆ เรียกว่า ร ว ยเดย์ ร ว ยกันแค่วันสิ้นเดือน ดังนั้น สิ่งที่เพื่อนๆ ต้องให้ความสนใจในลำดับถัดมา คือ การสร้างงบร า ยจ่าย หากไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นยังไง ให้เริ่มต้นจากงบการเ งิ น 50-30-20 ดูครับ สิ่งจำเป็น, สิ่งอย ากได้, ออม ฉุ ก เ ฉิ น

7. วางแผนเกษียณหรือยัง

แก่ไม่ว่า แต่อ ย่ าแก่ แบบไม่มีเ งิ นครับ ที่บอ กแบบนี้เพราะอย ากให้วางแผนเกษียณกันไวๆ ยิ่งวางเร็วยิ่งดี ดังนั้น การเริ่มต้นตั้งแต่วันนี้ ก็เพื่อผลประโยชน์ สำหรับเราเองครับ ไม่ต้องลำบากลูกหลาน

ที่มา aommoney keptbykrungsri  sabailey